พระราชภาวนาจารย์ (เผด็จ ทตฺตชีโว)
ประวัติพระราชภาวนาจารย์ (เผด็จ ทตฺตชีโว) ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย อุปสมบทเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2514 ณ พัทธสีมา วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
ทำไม...ต้องนั่งสมาธิทุกวัน
การนั่งสมาธิ เป็นการปรับสภาพใจเข้าสู่ความปกติสมดุล เมื่อใจสมดุล เราจะสามารถมองอะไรเป็นไปตามความเป็นจริงได้มากขึ้น ครั้นเมื่อเจอเรื่องร้ายๆ เข้ามาในชีวิตเราก็จะไม่เสียใจจนเกินไป ใจเราจะถูกยกขึ้นเหนืออุปสรรค
สัมมา อะระหัง ความหมายของคำว่า “สัมมา อะระหัง”
พระโบราณาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า "สัมมา อะระหัง เป้นพุทธานุสสติ มีประโยชน์ในการเจริญภาวนากัมมัฏฐานมาก"
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางสุดโต่งสองอย่างบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ การทรมานตัวเองให้ลำบากและการประกอบพัวพันในกาม
ธัมมจักรกัปปวัตตนสูตร (๑)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตเป็นผู้มีวาจาเป็นหนึ่ง เราเป็นพระอรหันต์ ผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ พวกเธอจงเงี่ยโสตสดับเถิด เราจะสั่งสอน จักแสดงธรรม พวกเธอปฏิบัติตามที่เราสั่งสอนแล้ว จะได้บรรลุธรรมอันยอดเยี่ยมตามเรา
ชีวิตคุณเริ่มต้นหรือยัง
แม้ชีวิตจะเดินทางมายาวไกล ทั้งทางบก ทางน้ำทางอากาศ หรือไปไกลถึงดวงดาว ก็ยังไม่ได้ขึ้นชื่อว่า “เดินทาง” เพราะชีวิตไม่ได้เริ่มต้นด้วยระยะทาง ตัวเลข หรือกาลเวลา ดังที่เคยเข้าใจกัน
หนทางสู่ธรรมกาย
ดูก่อนวาเสฏฐะ คำว่า ธรรมกายก็ดี คำว่า พรหมกายก็ดี คำว่า ธรรมภูต ก็ดี หรือคำว่า พรหมภูตก็ดี เป็นชื่อของพระตถาคต
กรรมส่งผลตอนใกล้ตาย
คนมีอายุ 70-80 ปี ทำกรรมมาทั้งชีวิต รวมแล้วหลายแสนกรรม ทั้งกรรมดี กรรมชั่ว และกรรมไม่ดีไม่ชั่ว เมื่อวาระสุดท้ายมาถึง กรรรมที่ทำมาทั้งชีวิต จะมาส่งผลตามลำดับ โดยเริ่มจากกรรมหนัก กรรมใกล้ตาย กรรมที่ทำเป็นประจำ สุดท้าย คือ กรรมไม่เจตนา
สัมมา อะระหัง กับความหมายของคำภาวนา
ความหมายของคำว่า.. “สัมมา อะระหัง” คำว่า “สัมมา อะระหัง” เป็นภาษาบาลี มีศัพท์ควบคู่กันอยู่ 2 ศัพท์ คือ “สัมมา” และ “อะระหัง
พระนันทกเถระ (๒)
ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย บรรดาภิกษุผู้เป็นสาวกของเรา พระนันทกะเป็นเลิศทางด้านให้โอวาทแก่ภิกษุณีสงฆ์