"ปลื้ม" หัวใจของการสร้างบุญ
คำว่าปลื้มเป็นคำทั่วไปที่เราใช้กันคุ้นเคยแต่ศัพท์ในพระพุทธศาสนาที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่าปลื้มก็คงเป็นคำว่า “ปีติ” (ไม่ใช่ปิติ) ปีติมี ๕ ประการ
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang ภาพยนตร์ประวัติชีวิตพระถังซัมจั๋ง
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang เปิดตำนานประวัติบุคคลผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศจีน พระถังซัมจั๋งคือใคร มีประวัติอย่างไร และติดตามตัวอย่างภาพยนต์ฟอร์มยักษ์ เรื่องราวของ “พระถังซัมจั๋ง” ซึ่งเดินทางไปอัญเชิญพระไตรปิฎก ณ ชมพูทวีป ซึ่งจะออกฉายในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ที่จะถึงนี้
น้ำมหาประลัย
การดื่มน้ำเมานั้น นอกจากได้ชื่อว่าเป็นการล่วงละเมิดศีลข้อ ๕ แล้ว พระพุทธองค์ยังทรงชี้โทษไว้ว่าเป็นอบายมุข คือ ปากทางแห่งความเสื่อม ผู้ดื่มน้ำเมาจะพบกับความหายนะอย่างน้อย ๖ ประการ คือ...
ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ พระมหาธีรราชเจ้าของชาวสยาม
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นชาวไทยคนแรกที่ปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสยามมกุฎราชกุมาร ทรงผนวชที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสเป็นพระอุปัชฌาย์ เสด็จประทับจำพรรษาศึกษาพระธรรมวินัย ณ วัดบวรนิเวศวิหารเป็นเวลา ๑ พรรษา
ศึกษาหลักฐานพุทธศิลป์...ย้อนแดนดินถิ่นอารยธรรม
ณ ริมฝั่งแม่น้ำภีมะ ห่างจากหมู่บ้าน Sannati ไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๓ กิโลเมตร ในเขตรัฐกรณาฏกะ ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย องค์การสำรวจโบราณคดีอินเดีย หรือ ASI (Archaeological Survey of India) ได้ขุดค้นพบแหล่งโบราณคดีกนคนหลฺลิ (Kanaganahalli) ที่เชื่อว่าเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาสมัยราชวงศ์ศาตวาหนะ....
บวช บวชพระ บวชเถิดชายไทย กตัญญู ลูกผู้ชาย มาบวชกัน
บวชเถิดชายไทย มาบวชกัน บวชที่ไหนดี สถานที่บวช บวชแล้วทำไมเรียกทิด บวชเป็นพระ พ่อแม่ได้บุญอย่างไร บวชนานแค้ไหนดี บวชแล้วได้อะไรบ้าง บวชเข้าพรรษาดีอย่างไร
หีดธัมม์ งานศิลป์ ถิ่นเหนือ
หีดธัมม์ หรือ หีดธรรม เป็นคำที่ชาวเหนือใช้เรียกหีบเก็บคัมภีร์ใบลาน มีใช้สืบต่อกันมาแต่โบราณกาลในดินแดนล้านนา ส่วนใหญ่เป็นคัมภีร์ใบลานที่จารด้วยอักษรธรรมล้านนาซึ่งเป็นอักษรที่ใช้อย่างแพร่หลายบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย หีบพระธรรมที่ใช้ในภูมิภาคนี้นับว่ามีเอกลักษณ์เฉพาะที่แตกต่างจากหีบเก็บคัมภีร์ใบลานของภาคอื่น เพราะมีลักษณะเป็น “ทรงลุ้ง” คือเป็นทรงสี่เหลี่ยม ด้านล่างของฐานสอบเข้า ส่วนปากหีบผายออก มีฝาครอบปิดด้านบนซึ่งมีหลายลักษณะทั้งฝาตัด ฝาคุ้ม และฝาเรือนยอด
กลิ่นศีล กลิ่นธรรม
ถ้าอยากรู้ว่าเรามีความสะอาดในการกล่าววาจามากน้อยแค่ไหน พระอรรถกถาจารย์ได้วินิจฉัยไว้ ดังนี้ คือ 1. พูดเรื่องไม่จริง 2. มีจิตคิดจะพูดให้ผิดไปจากความจริง 3. พยายามพูดให้ผิดจากความจริง 4. คนฟังเข้าใจความหมายตามที่พูดนั้น
เหตุใดชาวพุทธแม้มีหลายนิกาย ก็ยังอยู่ร่วมกันได้โดยไม่กระทบกระทั่งกัน
คนในโลกนี้มีหลากหลายความเชื่อ บางครั้งก็มีความเห็นไม่ลงรอยกัน แต่..เหตุใดชาวพุทธแม้มีหลายนิกาย ก็ยังอยู่ร่วมกันได้โดยไม่กระทบกระทั่งกัน?
สะอาดกาย สะอาดใจ
“สัตว์ทั้งหลายสะดุ้งต่ออาชญากันหมด เพราะชีวิตเป็นที่รักของสัตว์ทั้งหลาย ฉะนั้น คนควรเอาตนเป็นเครื่องเปรียบเทียบ แล้วไม่เบียดเบียน ไม่ฆ่ากัน” (ตุณฑิลชาดก)